photo essay
สยามในยามเหงา
‘คนเดินในสยามสแควร์ในวันธรรมดาเฉลี่ยวันละ 20,000 คน วันหยุดไม่ต่ำกว่า 50,000 คน’
ช่วยด้วย! เสียงร้องขอของกลุ่มรถแท็กซี่ ที่จอดประท้วงอยู่หน้ากระทรวงพลังงาน
‘ลุงตู่ช่วยด้วย ไม่มีเงินจะผ่อน ไม่มีที่จอดรถ ไม่มีจะกิน ไม่มีผู้โดยสาร’
พาหุรัด ตลาดค้าผ้ากับความเงียบเหงาในช่วงเวลาเย็น
“ปกติร้านค้าปิดกันประมาณ 5-6 โมงเย็น แต่ที่ปิดเร็วเพราะไม่มีคน”
น้ำใจเล็กๆ ในเมืองใหญ่ ของร้านข้าวมันไก่ริมทาง
“บางคนต้องหยุดงาน เงินก็ไม่มี เราก็เลยอยากช่วยเหลือ อยากให้เขาอิ่มท้อง”
สนามบินสุวรรณภูมิในวันที่ความเงียบเหงาเข้าปกคลุม
‘ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ปัจจุบันเป็นหนึ่งในท่าอากาศยานที่มีผู้โดยสารมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก โดยใน พ.ศ. 2562 มีผู้โดยสารมากเป็นอันดับที่ 19 ของโลกที่ 65,421,844 ราย’
ตลาดประตูน้ำในสถานการณ์ฉุกเฉิน
ร้านขายเสื้อผ้าบริเวณตลาดประตูน้ำในเวลานี้ต่างต้องปิดตัวลง หลังมีประกาศจากกรุงเทพมหานครให้ปิดสถานที่เป็นการชั่วคราวเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ซึ่งดูเหมือนยอดผู้ติดเชื้อจะมีจำนวนสูงขึ้นทุกวัน
ชีวิตเล็กๆ ในเมืองใหญ่
ภาพถ่ายของผู้คนหลากอาชีพที่ใช้ชีวิตอยู่ในเมืองใหญ่ชุดนี้ถูกบันทึกไว้ก่อนที่โควิด-19 ระลอก 3 จะระบาดขึ้น ขณะนั้นยังเป็นช่วงเวลาที่เราทุกคนยังไปมาหาสู่และพูดคุยสื่อสารกันได้ในระยะปกติ
สมุทรปราการในช่วงเวลาเคอร์ฟิว
หลังจาก ศบค. ยกระดับ 10 จังหวัดพื้นที่ควบคุมสูงสุด (สีแดงเข้ม) โดยห้ามไม่ให้ประชาชนออกจากเคหสถานตั้งแต่เวลา 21.00 น. – 04.00 น. ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 12 กรกฎาคม ที่ผ่านมา ส่งผลให้บรรยากาศในยามค่ำคืนของจังหวัดสมุทรปราการ กลับสู่สภาวะเหงาหงอยดังเช่นเมื่อปีก่อนที่เคยมีการประกาศเคอร์ฟิวอีกครั้ง
เสียงสะท้อนของคนไร้บ้านกับชีวิตที่ถูกหลงลืม
“โทรศัพท์เพิ่งโดนขโมยเลยลงทะเบียนฉีดวัคซีนกับใช้สิทธิ์ที่รัฐบาลแจกไม่ได้”